วัน, วันที่ เดือน ปี ชม:นาที

การออกใบกำกับภาษี

เขียนโดย
ให้คะแนนบทความนี้
(0 โหวต)

การออกใบก ากับภาษี
กรณีการขายสินค้า
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ต้องจัดท าใบก ากับภาษี พร้อมทั้งส่งมอบ
ให้แก่ผู้ซื้อสินค้าในทันทีที่มีการส่งมอบสินค้า หรือเมื่อได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าให้กับผู้ซื้อก่อนส่งมอบ
สินค้า หรือเมื่อได้รับช าระราคาสินค้าก่อนส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ แล้วแต่กรณี
กรณีการให้บริการ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ต้องจัดท าใบก ากับภาษี พร้อมทั้งส่งมอบ
ให้แก่ผู้รับบริการในทันทีที่ได้รับช าระค่าบริการ หรือเมื่อได้มีการใช้บริการนั้นไม่ว่าโดยตนเองหรือบุคคลอื่น
ก่อนได้รับช าระค่าบริการ แล้วแต่กรณี
นอกจากนี้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องจัดท าส าเนาใบก ากับภาษี และเก็บรักษา
ส าเนาใบก ากับภาษีไว้ ณ สถานประกอบการ หรือสถานที่อื่นที่อธิบดีก าหนดเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี
2

ผู้มีหน้าที่ออกใบก ากับภาษี
1. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยค านวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อ
2. ผู้ขายทอดตลาดที่มิใช่ส่วนราชการ ซึ่งขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ประกอบการจดทะเบียน
โดยให้ผู้ขายทอดตลาดออกใบก ากับภาษีในนามของผู้ประกอบการจดทะเบียนเจ้าของทรัพย์สิน (มาตรา 86/3
และค าสั่งกรมสรรพากรที่ ป.87/2542)
3. ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนในราชอาณาจักร โดยมีการตั้ง
ตัวแทนเพื่อขายและได้ส่งมอบสินค้าให้ตัวแทนแล้ว ทั้งนี้ เฉพาะสัญญาการแต่งตั้งตัวแทนเพื่อขายตามประเภท
ของสินค้า (มาตรา 86 วรรคสี่)
4. ตัวแทนในราชอาณาจักร ของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้ยื่น
ค าขออนุมัติต่ออธิบดีกรมสรรพากร ตามมาตรา 86/2 โดยตัวแทนจะต้องออกใบก ากับภาษีในนามของ
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีก าหนด
5. ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร และเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือ
ให้บริการในราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว (มาตรา 85/3 และมาตรา 86 วรรคสอง)
6. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม เพราะเลิก
ประกอบกิจการ หรืออธิบดีสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม อธิบดีกรมสรรพากรจะอนุญาตให้
ผู้ประกอบการที่ถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มดังกล่าว ออกใบก ากับภาษี ใบเพิ่มหนี้ หรือใบลดหนี้
ต่อไปเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะหยุดประกอบกิจการ (มาตรา 86/11)
7. ผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ได้แจ้งขอจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่มและได้รับอนุมัติให้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยค านวณจากภาษีขายหักด้วยภาษีซื้อในแต่ละเดือน
ภาษี (มาตรา 82/3)
ข้อห้ามการออกใบก ากับภาษี
1. ห้ามบุคคลซึ่งมิใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียน กล่าวคือ ผู้ประกอบการซึ่งประกอบกิจการ
ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพแต่มิได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 85 หรือมาตรา
85/1
2. ห้ามผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งมิได้มีการขายสินค้าหรือให้บริการจริง กล่าวคือ
การออกใบก ากับภาษีตามกฎหมายนั้น นอกจากผู้ออกจะต้องมีฐานะเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนแล้ว
ยังต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่า ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้มีการขายสินค้าหรือให้บริการเกิดขึ้น จึงจะถือเป็น
เหตุตามกฎหมายที่จะต้องออกใบก ากับภาษีนั้นได้ ดังนั้น แม้จะเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนหากมิได้ขาย
สินค้าหรือให้บริการเกิดขึ้นจริงแล้วออกใบก ากับภาษีแล้ว อาจต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจากนี้
ยังมีผลไปถึงผู้ประกอบการซึ่งน าใบก ากับภาษีดังกล่าวไปใช้ในการเครดิตภาษีด้วย
3. ห้ามผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอกราชอาณาจักรซึ่งได้ให้ตัวแทนของตนออก
ใบก ากับภาษีแทนตน ตามมาตรา 86/2 เนื่องจากประมวลรัษฎากรก าหนดให้ตัวแทนท าหน้าที่ในการออก
ใบก ากับภาษีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีก าหนดแทนผู้ประกอบการจดทะเบียนที่อยู่นอก
ราชอาณาจักรแล้ว
3
4. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ทรัพย์สินถูกน าขายทอดตลาดหรือขายโดยวิธีอื่นโดยบุคคลอื่น
ตามมาตรา 83/5 เนื่องจากประมวลรัษฎากรก าหนดให้หน้าที่ในการออกใบก ากับภาษีเป็นของผู้ขาย
ทอดตลาด

http://www.rd.go.th/

 

อ่าน 1317 เวลา

เขียนข้อความของคุณ

Make sure you enter all the required information, indicated by an asterisk (*). HTML code is not allowed.