วัน, วันที่ เดือน ปี ชม:นาที

กรณีที่ไม่ต้องออกใบกำกับภาษี

เขียนโดย
ให้คะแนนบทความนี้
(0 โหวต)

กรณีที่ไม่ต้องออกใบก ากับภาษี
ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ขายสินค้าหรือให้บริการ ต้องออกใบก ากับภาษีทุกครั้งที่มี
การขายสินค้าหรือการให้บริการ เว้นแต่ ในกรณีดังต่อไปนี้ มีกฎหมายและแนวทางปฏิบัติของกรมสรรพากร
ให้สิทธิเลือกไม่ต้องออกใบก ากับภาษีก็ได้
1. การขายสินค้าหรือให้บริการรายย่อย
 ก าหนดให้กิจการรายย่อยไม่ต้องออกใบก ากับภาษีส าหรับการขายสินค้าหรือ
การให้บริการที่มีมูลค่าครั้งหนึ่งไม่เกิน 1,000 บาท เว้นแต่ ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการจะเรียกร้องใบก ากับ
ภาษี ส าหรับกิจการดังต่อไปนี้
 1.1 การขายสินค้าหรือให้บริการ ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่เคยมีมูลค่าของฐาน
ภาษีในเดือนใดถึง 300,000 บาท
 1.2 การขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนมีสถานประกอบการ
แต่ละแห่งเป็นรถเข็น แผงลอย หรือหน่วยงานที่มีลักษณะท านองเดียวกัน
 1.3 การให้บริการการแสดง การเล่น การกีฬา การแข่งขัน การประกวดหรือ
การกระท าใด ๆ ในลักษณะท านองเดียวกันที่จัดขึ้นเพื่อเก็บเงินจากผู้ดู ผู้ฟัง ผู้เล่น หรือผู้เข้าแข่งขัน
 1.4 การประกอบกิจการให้บริการโทรศัพท์สาธารณะ
4
 1.5 การประกอบกิจการให้บริการทางพิเศษหรือทางหลวงสัมปทาน
 1.6 การประกอบกิจการให้บริการสนามบิน
 1.7 การประกอบกิจการให้บริการสาธารณะที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการขนส่งมวลชน เช่น
การให้บริการสถานที่จอดรถหรือให้บริการห้องสุขาแก่ประชาชนผู้มาใช้บริการรถไฟฟ้า
2. การขายน้ ามันเชื้อเพลิงของสถานบริการน้ ามัน
 การขายน้ ามันเชื้อเพลิงของสถานบริการน้ ามันโดยผ่านมิเตอร์หัวจ่ายอันมีลักษณะเป็น
การขายสินค้าหรือให้บริการรายย่อยแก่บุคคลจ านวนมาก มีสิทธิที่จะขายน้ ามันเชื้อเพลิงโดยไม่ต้องออก
ใบก ากับภาษีส าหรับการขายน้ ามันเชื้อเพลิงที่มีมูลค่าครั้งหนึ่งไม่เกิน 1,000 บาท เว้นแต่ผู้ซื้อสินค้า
จะเรียกร้องใบก ากับภาษี โดยจะต้องยื่นค าขออนุมัติต่ออธิบดีกรมสรรพากรพร้อมแนบเอกสารหลักฐาน ได้แก่
ส าเนา ภ.พ.20 ส าเนาใบอนุญาตเป็นผู้ค้าน้ ามัน หรือใบทะเบียนจัดตั้งสถานีบริการน้ ามันตามกฎหมายว่าด้วย
การค้าน้ ามันเชื้อเพลิง และแผนผังแสดงที่ตั้งพร้อมทั้งจ านวนหัวจ่ายน้ ามันเชื้อเพลิงและถังเก็บน้ ามันตาม
กฎหมาย

http://www.rd.go.th/

อ่าน 1336 เวลา

เขียนข้อความของคุณ

Make sure you enter all the required information, indicated by an asterisk (*). HTML code is not allowed.